(0)
พระสมเด็จทรงครุฑ ของหลวงปู่ผาดด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธเจ้าศิลปะ “สุโขทัย” ประทับบนพญาครุฑ ที่กำลังยุดนาค ที่เลือกเป็นพระพุทธศิลป์สุโขทัยนั้น เพราะหลวงปู่ผาด ต้องการให้ผู้พบเห็นบูชา มีความ “สุโข” คือ สุ








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องพระสมเด็จทรงครุฑ ของหลวงปู่ผาดด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธเจ้าศิลปะ “สุโขทัย” ประทับบนพญาครุฑ ที่กำลังยุดนาค ที่เลือกเป็นพระพุทธศิลป์สุโขทัยนั้น เพราะหลวงปู่ผาด ต้องการให้ผู้พบเห็นบูชา มีความ “สุโข” คือ สุ
รายละเอียดพระสมเด็จทรงครุฑ ของหลวงปู่ผาดด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธเจ้าศิลปะ “สุโขทัย” ประทับบนพญาครุฑ ที่กำลังยุดนาค ที่เลือกเป็นพระพุทธศิลป์สุโขทัยนั้น เพราะหลวงปู่ผาด ต้องการให้ผู้พบเห็นบูชา มีความ “สุโข” คือ สุข ตลอดไป

ยันต์ด้านหลังสมเด็จทรงครุฑนี้ ถ้าอ่านยันต์เป็น เห็นยันต์มามาก จะเห็นได้ว่า พระยันต์หลังสมเด็จทรงครุฑ หลวงปู่ผาดรุ่นนี้ ไม่ธรรมดา แต่แฝงไว้ด้วยความเข็มขลัง ทรงพลัง ล้วน ๆ อักขระยันต์สี่มุม อ่านได้ว่า “นะ มะ พะ ทะ” หมายถึงพระยันต์แม่ธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม และไฟ ว่ากันตามจริง สิ่งมีชีวิตในโลกนี้ ล้วนกำเนิดจากแม่ธาตุทั้ง 4 ทั้งสิ้น

อักขระยันต์ถัดมา คือ “นะ ชา ลิ ติ” อันเป็นหัวใจของพระสิวลีเถระเจ้า ซึ่งเป็นพระอรหันต์ในยุคพุทธกาล ที่พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า เป็น เอกัตทัตคะ ด้านมีลาภสักการะมาก เหนือกว่าพระอรหันต์สาวกทั้งปวง

ตรงกลางด้านหลังสมเด็จทรงครุฑของหลวงปู่ผาดเป็นพระยันต์จักรนารายณ์ อันหมายถึงจักรแก้ว อันเป็นเทวอาวุธ คู่กรของพระนารายณ์เทพเจ้า ที่ทรงใช้ประหารหมู่อสูร รวดเร็วดุจจักรผัน อันหมายถึงเป็นมหาปราบ คือปราบศัตรู ปราบสิ่งเลวร้าย ปราบปัญหา และอุปสรรค์ทั้งปวง ทั้งยังหมายถึงการหนุนนำชีวิต ให้เจริญก้าวหน้า รุ่งเรือง ไม่มีที่สุดสิ้น ดุจซี่กงจักร ที่หมุน หนุนเนื่อง นำชีวิตให้สูงขึ้นอยู่เสมอ ไม่มีช่องว่างให้ตกต่ำ ย่ำแย่
ราคาเปิดประมูล309 บาท
ราคาปัจจุบัน329 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ20 บาท
วันเปิดประมูล - 12 มี.ค. 2567 - 09:19:17 น.
วันปิดประมูล - 23 มี.ค. 2567 - 09:03:32 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลmook1 (650)


(0)
 
ราคาปัจจุบัน :     329 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     20 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    srigold (378)

 

Copyright ©G-PRA.COM