ร่วมเสนอความคิดเห็น

หัวข้อกระทู้ : อยากทราบประวัติ พระกรุวัดบึงพระยาสุเรนทร์ครับ

(D)
ผมเคยได้ยินมาเล็กน้อยแต่ไม่ชัดเจนครับและอยากทราบจำนวนพิมพ์พระครับว่ามีกี่พิมพ์

โดยคุณ punpun (3K)  [อา. 31 ต.ค. 2547 - 23:48 น.]



โดยคุณ punpun (3K)  [จ. 01 พ.ย. 2547 - 22:47 น.] #1934 (1/17)
ขอโทษนะครับลงผิดหัวข้อ

โดยคุณ พันชาติ (499)  [พ. 03 พ.ย. 2547 - 18:49 น.] #1978 (2/17)
ไม่ผิดหรอกครับ ห้อข้อนี้ถูกต้องแล้วครับ แต่ยังไม่ตอบเป็นเพราะต้องใช้เวลาค้นข้อมูลครับ เอาไว้เจอข้อมูลแล้วจะ POst ให้อีกทีครับ

โดยคุณ punpun (3K)  [พ. 03 พ.ย. 2547 - 19:53 น.] #1984 (3/17)
ขอบคุณพี่พันชาติมากครับ พอดีวัดนี้ห่างจากบ้านผมไม่ถึง 10 นาที เรียกว่าเกือบจะตรงข้ามกันเลยครับ เลยอยากทราบประวัติคร่าวๆ ขอขอบคุณไว้ล่วงหน้าเลยนะครับ

โดยคุณ Plasaithong (331)  [พฤ. 21 พ.ค. 2552 - 12:26 น.] #643018 (4/17)
อยากทราบด้วย

โดยคุณ แบงค์7วัด (1.2K)  [ศ. 26 พ.ย. 2553 - 20:24 น.] #1417733 (5/17)
http://www.7wat.com

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 14:10 น.] #1553833 (6/17)
พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ รูปหนึ่งของเมืองนครราชสีมา ที่ครองเพศบรรพชิตอย่างสมถะ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา รักษาพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด

เป็นปูชนียบุคคลที่สาธุชนให้ความเลื่อมใสศรัทธามาอย่างยาวนาน

ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน

ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา

เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์
แม้วัยล่วงเลย 70 ปี แต่พระราชสีมาภรณ์ยังให้คำสั่งสอนอบรมศีลธรรมแก่ประชาชนที่มาทำบุญฟังธรรมที่วัดมหาวนาราม ทุกวันธัมมัสวนะ ก่อนทำวัตรสวดมนต์ และยังดำเนินการอบรมศีลธรรมแก่เยาวชนนักเรียนและประชาชน เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและทุกวันพระเป็นประจำ
พระเดชพระคุณเจ้าพระราชสีมาภรณ์ ท่านจึงเป็นพระที่มีแต่ให้ จึงนับเป็นมงคลอย่างยิ่งสำหรับผู้คนที่ได้สัมผัสใกล้ชิดและได้รับฟังคำสั่งสอนจากตัวท่าน

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 14:15 น.] #1553836 (7/17)
1. ทลิทโทฤกษ์

ทลิทโทฤกษ์ แปลว่า ผู้มักน้อย ผู้เข็ญใจ ผู้ขอ ผู้ต้องเหน็ดเหนื่อย ผู้อดทน ผู้ที่ต้องรับผิดชอบสูง
ฤกษ์นี้เป็นฤกษ์ของ "ชูชก" มีพระอาทิตย์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น "บูรณะฤกษ์" คือฤกษ์ที่เต็มโดยสมบูรณ์ คือฤกษ์ที่ไม่ขาดแยกแตกบาทฤกษ์ไปอยู่คนละราศี และเรียกว่า จัตตุรฤกษ์ หรือ ขันธฤกษ์


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การขอสิ่งต่างๆ เพราะถือว่าเป็นฤกษ์ของชูชก จะทำการขอสิ่งใดก็ง่าย เช่น การขอหมั้น ขอแต่งงาน ทวงหนี้ กู้ยืม ร้องทุกข์ การทำการใดๆ เพื่อให้ผู้อื่นสงสารกรุณา เปิดร้านขายของชำ ของเก่าชำรุด สมัครงาน ทำการใดๆ ที่ริเริ่มใหม่

กลับสู่ด้านบน

2. มหัทธโนฤกษ์

มหัทธโนฤกษ์ แปลว่า คนมั่งมี ผู้รุ่งเรือง เศรษฐี มีพระจันทร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น "บูรณะฤกษ์"


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การมงคลต่างๆ เช่น ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน ปลูกสร้างอาคาร ธุรกิจการเงิน การค้าอุตสาหกรรม เปิดห้างร้าน ลาสิกขาบท สะเดาะเคราะห์ และ สารพัดงานมงคล

กลับสู่ด้านบน

3. โจโรฤกษ์

โจโรฤกษ์ แปลว่า โจร ผู้ปล้น ผู้ลักขโมย นักเลง ผู้ใช้กำลัง ผู้ทำลายล้าง ผู้กล้าหาญมีอำนาจ ผู้ว่องไว มีพระอังคารเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 ไม่รวมอยู่ในราศีเดียวกัน คาบเกี่ยวอยู่ 2 ราศีเป็น "ฉินทฤกษ์" คือ ฤกษ์ขาดแตก โดยเฉพาะบาทแรกของต้นราศีนั้น เป็นฤกษ์บาทที่ร้ายแรงมากกว่าบาทอื่น เป็นนวางค์ที่ร้ายแรงมาก ไม่ควรให้ฤกษ์มงคล


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ คนโบราณใช้ในการปล้นค่าย จู่โจมโดยฉับพลัน ข่มขวัญ บีบบังคับ ทำการปราบปราม การแข่งขันช่วงชิง การแย่งอำนาจและผลประโยชน์ งานเสี่ยงๆ ในระยะสั้นๆ การปฏิวัติ งานของบุคคลในเครื่องแบบแบใช้กำลัง

กลับสู่ด้านบน

4. ภูมิปาโลฤกษ์

ภูมิปาโลฤกษ์ แปลว่า ผู้รักษาแผ่นดิน มีพระพุธเป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น บูรณะฤกษ์


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การมงคลต่างๆ งานที่ต้องการความมั่นคงถาวร งานเกี่ยวกับที่ดิน การเกษตร การเช่าซื้อ ก่อสร้าง ปลูกเรือน ยกศาลพระภูมิ แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ลาสิกขาบท เปิดอาคารห้างร้าน และ สารพัดงานมงคลทั้งปวง

กลับสู่ด้านบน

5. เทศาตรีฤกษ์

เทศาตรีฤกษ์ แปลว่า ข้ามท้องถิ่น หญิงแพศยา ผู้ท่องเที่ยว บางคราเรียกว่า "เวสิโยฤกษ์" หมายถึงฤกษ์พ่อค้า-แม่ค้า มีพระเสาร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ปลายราศีหนึ่ง และ ต้นราศีหนึ่ง แห่งละ 2 บาทฤกษ์ คือคาบเกี่ยวอยู่ราศีละครึ่ง คือในราศี พฤษภกับเมถุน , กันย์กับตุลย์ และ มังกรกับกุมภ์ เป็นฤกษ์อกแตก หรือ พินทุฤกษ์ หรือ ตินฤกษ์


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ งานการติดต่อการค้าระหว่างถิ่น เกี่ยวกับความสนุกสนานชักชวนคนเข้าออกมาก เปิดโรงมหรสพ สถานเริงรมย์ ซ่องโสเภณี โรงแรม โรงหนัง ตลาดและศูนย์การค้า การประกอบอาชีพนอกสถานที่ อาชีพเร่ร่อน อาชีพที่ต้องย้ายที่อยู่เสมอ

กลับสู่ด้านบน

6. เทวีฤกษ์

เทวีฤกษ์ แปลว่า นางพญา ความงามหรูหรา ความมีเสน่ห์ โชคลาภ และ การสมความปรารถนา มีพระพฤหัสฯ เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น บูรณะฤกษ์ เป็นฤกษ์ที่มุ่งให้เกิดโชคลาภ


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ การหมั้นหมายและสมรส การส่งตัวเจ้าสาวและเข้าห้องหอ การทำกิจการที่ต้องการชื่อเสียงและมีเสน่ห์ งานมีเกียรติ งานเชิงศิลปะตกแต่งชั้นสูง เปิดร้านค้าอัญมณีเครื่องประดับ ร้านเสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า การประชาสัมพันธ์ ลาสิกขาบท ขึ้นบ้านใหม่ ขอความรัก งานเพื่อความสงบเรียบร้อย และ สารพัดงานมงคลทั้งปวง

กลับสู่ด้านบน

7. เพชฌฆาตฤกษ์



เพชฌฆาตฤกษ์ แปลว่า ผู้ทำหน้าที่ฆ่า มีพระราหูเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 แตกขาดกัน และ ตรงข้ามกับ โจโรฤกษ์ เรียกว่า "ตรินิเอก" คืออยู่ปลายราศี 3 ฤกษ์บาท และ ต้นราศี 1 ฤกษ์บาท ไม่ควรให้ฤกษ์ในการมงคลเลย เป็น ฉันทฤกษ์ (ฤกษ์แตกขาด)


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การฟันผ่าอันตรายและอุปสรรค ต่อสู้เสี่ยงภัยต่างๆ อาสางานใหญ่ ทำกิจปราบปรามศัตรู ตัดสินคดีความ งานที่ใช้การตัดสินใจอย่างเด็ดขาด ประกอบพิธีไสยศาสตร์ ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ลงเลขยันต์ สร้างวัตถุมงคลแบบคงกระพันชาตรี สร้างสิ่งสาธารณะกุศลสงเคราะห์ เปิดโรงพยาบาล การรักษาโรคเรื้อรังที่หายยากๆ การยาตราทัพ เจิมอาวุธยุทธภัณฑ์ สร้างโบสถ์วิหารการเปรียญ คล้ายกับโจโรฤกษ์ แต่ฤกษ์นี้จะแรงกว่า

กลับสู่ด้านบน

8. ราชาฤกษ์

ราชาฤกษ์ แปลว่าผู้ยิ่งใหญ่ ผู้มีอำนาจวาสนา พระเจ้าแผ่นดิน มีพระศุกร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกัน เรียกว่า บูรณะฤกษ์ เป็นฤกษ์เฉพาะกิจการของผู้หลักผู้ใหญ่ ผู้นำกิจการขึ้นไปจนถึงพระราชา


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ งานราชพิธี งานราชการงานเมือง สร้างที่ประทับ งานที่ต้องการชักจูงให้ผู้อื่นดำเนินตาม การเข้ารับตำแหน่งงาน การแสวงหาชื่อเสียงเกียรติยศ การเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ งานมงคลสมรสที่หรูหรามีเกียรติ ลาสิกขาบท การขึ้นบ้านใหม่(สามัญชนควรเว้น ถ้าหาฤกษ์ไม่ได้ก็พออนุโลมใช้ได้ เพื่อดวงชะตาและความเหมาะสม) และ งานมงคลทั้งปวง

กลับสู่ด้านบน

9. สมโณฤกษ์

มโณฤกษ์ แปลว่า (สงบเรียบร้อย นักบวช นักสอนศาสนา มีพระเกตุเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 อยู่ปลายราศีเดียวกัน แต่บาทฤกษ์สุดท้ายนี้เป็นนวางค์ขาดสุดราศีพอดี เรียกว่า "จัตตุรฤกษ์ หรือ ขันธฤกษ์" จึงเป็นจุดที่มีผลเสียให้เกิดอันตรายต่างๆ ในการแข่งขัน ใช้ได้เฉพาะกิจเกี่ยวกับความสงบความสุจริต


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ ทำพิธีกรรมทางศาสนา และ ทางนักบวช เช่น การทำขวัญนาค การอุปสมบท หล่อพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เข้ารับการศึกษา และ การกระทำทุกอย่างเพื่อความสงบร่มเย็นเป็นสุข สงเคราะห์ในฤกษ์นี้ได้ เช่น ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ทำบุญต่ออายุ

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 14:25 น.] #1553844 (8/17)
ครูบากฤษณะ อิณทวัณโณ สำนักสงฆ์เวฬุวัน จ.นครราชสีมา
ประวัติครูบากฤษณะ อิณทวัณโณ

ครูบากฤษณะ อินทวัณโณ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม 2497 ที่บ้านโตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัว เดิมชื่อ สรุเดช ตับกลาง บิดา-มารดาของท่านเป็นแพทย์แผนโบราณ เป็นหมอยากลางบ้าน สืบต่อกันมาแต่ครั้งบรรพบุรุษ ดังนั้นท่านจึงได้เรียนรู้วิชาหมอยา การแพทย์แผนโบราณ พืชสมุนไพร คาถาอาคม มาแต่เยาว์วัย

ครั้งเติบโตเป็นหนุ่ม ท่านได้ถือบวชเป็นโยคีผ้าขาว ออกเดินทางไปยังภูเขาควาย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวซึ่งเป็นสถานที่รวบรวมสรรพวิชาต่าง ๆ ทางไสยเวทย์และคาถาอาคม ณ ภูเขาควายนี้เอง ท่านได้ศึกษา ไสยเวทย์ คาถาอาคม กับทางปู่ฤาษี โดยที่ท่าน ถือบวชเป็นโยคีพราหมณ์ หลังจากอยู่รับใช้ครูบาอาจารย ์ และ ศึกษาวิชาคาถาอาคม ได้รับความรู้พอประมาณแล้วท่านจึงได้เดินทางกลับ ประเทศไทย และ ใช้ชีวิตในเพศฆราวาส ได้ระยะเวลาหนึ่งท่านเกิด ความเบื่อหน่ายทางโลก จึงดำริที่จะละจากเพศฆราวาส เข้าอุปสมบทในพระพุทธศาสนา จึงนำความเข้าปรึกษาคุณสุรพันธ์ และคุณมาลี งามจิตรสุขศรี เจ้าของบริษัท รุ่งสินก่อสร้าง จำกัด ซึ่งก็ได้ รับการสนับสนุนจากท่านทั้งสองเป็นอย่างดี

ครูบากฤษณะ อุปสมบทเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2522 ณ พัทธสีมา วัดโคกอู่ทอง ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุร ี โดยมีพระครูธรรมรงโพธิเขต เจ้าอาวาสวัดโคกอู่ทอง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ฝั้น ชุตินทโรเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์กลมวิมโล เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "อินทวัณโณ"

ภายหลังที่อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ด้วยอุปนิสัยที่รักการศึกษาหาความรู้ ท่านได้สนใจศึกษาพระปริยัตธรรม ทั้งจากพระไตรปิฏก และจากครูบาอาจารย์ ผู้เป็นปราชญ์ทรงคุณธรรมหลายท่านจนจิตใจมั่นคงด้วยศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า ท่านจึงได้จาริกธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพร เพื่อเจริญจิตบำเพ็ญภาวนาโดยถือุดงควัตรอย่างเคร่งครัด ยอมมอบกายถวายชีวิตแด่ พระพุทธศาสนาตลอดมา

ครูบากฤษณะได้จาริกไปตามลำพังในป่าเขาดงดิบ เทือกเขาใหญ่ตลอดแนวภาคอีสานได้ข้ามกลับไปยัง
ภูเขาควาย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อศึกษาเพิ่มเติมวิชาอาคมต่างๆ ต่อจากนั้น จึงได้ผ่านไปยังประเทศเขมร และ กลับเข้าประเทศไทย ทางด้านจังหวัดจันทบุรี

ต่อมาในปีพ.ศ. 2532 ครูบากฤษณะได้ธุดงค์มาบำเพ็ญสมณธรรมบริเวณเทือกเขาจอมทอง เหนือเขื่อนมูลบน อ.ครบุรี ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวว่า มีพระภิกษุมาเจริญสมณธรรมในป่าเขา เกิดความศรัทธาพากันขึ้นไปทำบุญและรับการอบรมสั่งสอนจาก ท่านเป็นประจำ จนในที่สุดชาวบ้านคลองยางจึงพร้อมใจกันนิมนต์ ท่านครูบากฤษณะ เป็นประธานในการก่อสร้างสำนักสงฆ์ ป่ามหาวัน ขึ้นเพื่อเป็นดินแดนแห่งร่มเงาของพระพุทธศาสนาเพื่อชาวบ้านเหนือเขื่อนมูลบนจะได้มีสถานที่ประกอบศาสนกิจทางพุทธศาสนา สืบต่อไป

สำนักสงฆ์ป่ามหาวันได้รับการประกาศยกขึ้นเป็นวัดป่ามหาวันอย่างสมบูรณ์ตามกฏระเบียบของคณะสงฆ์ไทยเมื่อปีพ.ศ. 2536

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 14:41 น.] #1553885 (9/17)
คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####


ข้อ 1.
ครูบากฤษณะ อิณทวัณโณ สำนักสงฆ์เวฬุวัน จ.นครราชสีมา
ประวัติครูบากฤษณะ อิณทวัณโณ

ครูบากฤษณะ อินทวัณโณ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม 2497 ที่บ้านโตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัว เดิมชื่อ สรุเดช ตับกลาง บิดา-มารดาของท่านเป็นแพทย์แผนโบราณ เป็นหมอยากลางบ้าน สืบต่อกันมาแต่ครั้งบรรพบุรุษ ดังนั้นท่านจึงได้เรียนรู้วิชาหมอยา การแพทย์แผนโบราณ พืชสมุนไพร คาถาอาคม มาแต่เยาว์วัย

ครั้งเติบโตเป็นหนุ่ม ท่านได้ถือบวชเป็นโยคีผ้าขาว ออกเดินทางไปยังภูเขาควาย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวซึ่งเป็นสถานที่รวบรวมสรรพวิชาต่าง ๆ ทางไสยเวทย์และคาถาอาคม ณ ภูเขาควายนี้เอง ท่านได้ศึกษา ไสยเวทย์ คาถาอาคม กับทางปู่ฤาษี โดยที่ท่าน ถือบวชเป็นโยคีพราหมณ์ หลังจากอยู่รับใช้ครูบาอาจารย ์ และ ศึกษาวิชาคาถาอาคม ได้รับความรู้พอประมาณแล้วท่านจึงได้เดินทางกลับ ประเทศไทย และ ใช้ชีวิตในเพศฆราวาส ได้ระยะเวลาหนึ่งท่านเกิด ความเบื่อหน่ายทางโลก จึงดำริที่จะละจากเพศฆราวาส เข้าอุปสมบทในพระพุทธศาสนา จึงนำความเข้าปรึกษาคุณสุรพันธ์ และคุณมาลี งามจิตรสุขศรี เจ้าของบริษัท รุ่งสินก่อสร้าง จำกัด ซึ่งก็ได้ รับการสนับสนุนจากท่านทั้งสองเป็นอย่างดี

ครูบากฤษณะ อุปสมบทเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2522 ณ พัทธสีมา วัดโคกอู่ทอง ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุร ี โดยมีพระครูธรรมรงโพธิเขต เจ้าอาวาสวัดโคกอู่ทอง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ฝั้น ชุตินทโรเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์กลมวิมโล เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "อินทวัณโณ"

ภายหลังที่อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ด้วยอุปนิสัยที่รักการศึกษาหาความรู้ ท่านได้สนใจศึกษาพระปริยัตธรรม ทั้งจากพระไตรปิฏก และจากครูบาอาจารย์ ผู้เป็นปราชญ์ทรงคุณธรรมหลายท่านจนจิตใจมั่นคงด้วยศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า ท่านจึงได้จาริกธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพร เพื่อเจริญจิตบำเพ็ญภาวนาโดยถือุดงควัตรอย่างเคร่งครัด ยอมมอบกายถวายชีวิตแด่ พระพุทธศาสนาตลอดมา

ครูบากฤษณะได้จาริกไปตามลำพังในป่าเขาดงดิบ เทือกเขาใหญ่ตลอดแนวภาคอีสานได้ข้ามกลับไปยัง
ภูเขาควาย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อศึกษาเพิ่มเติมวิชาอาคมต่างๆ ต่อจากนั้น จึงได้ผ่านไปยังประเทศเขมร และ กลับเข้าประเทศไทย ทางด้านจังหวัดจันทบุรี

ต่อมาในปีพ.ศ. 2532 ครูบากฤษณะได้ธุดงค์มาบำเพ็ญสมณธรรมบริเวณเทือกเขาจอมทอง เหนือเขื่อนมูลบน อ.ครบุรี ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวว่า มีพระภิกษุมาเจริญสมณธรรมในป่าเขา เกิดความศรัทธาพากันขึ้นไปทำบุญและรับการอบรมสั่งสอนจาก ท่านเป็นประจำ จนในที่สุดชาวบ้านคลองยางจึงพร้อมใจกันนิมนต์ ท่านครูบากฤษณะ เป็นประธานในการก่อสร้างสำนักสงฆ์ ป่ามหาวัน ขึ้นเพื่อเป็นดินแดนแห่งร่มเงาของพระพุทธศาสนาเพื่อชาวบ้านเหนือเขื่อนมูลบนจะได้มีสถานที่ประกอบศาสนกิจทางพุทธศาสนา สืบต่อไป

สำนักสงฆ์ป่ามหาวันได้รับการประกาศยกขึ้นเป็นวัดป่ามหาวันอย่างสมบูรณ์ตามกฏระเบียบของคณะสงฆ์ไทยเมื่อปีพ.ศ. 2536

ข้อ 2. .ถือเอาวันที่มีฤกษ์ เทวีฤกษ์ เพชฌฆาตฤกษ์ เป็นวันประกอบพิธีพุทธษภิเสกวัตถุมงคล

รายละเอียดฤกษ์

เทวีฤกษ์ แปลว่า นางพญา ความงามหรูหรา ความมีเสน่ห์ โชคลาภ และ การสมความปรารถนา มีพระพฤหัสฯ เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น บูรณะฤกษ์ เป็นฤกษ์ที่มุ่งให้เกิดโชคลาภ


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ การหมั้นหมายและสมรส การส่งตัวเจ้าสาวและเข้าห้องหอ การทำกิจการที่ต้องการชื่อเสียงและมีเสน่ห์ งานมีเกียรติ งานเชิงศิลปะตกแต่งชั้นสูง เปิดร้านค้าอัญมณีเครื่องประดับ ร้านเสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า การประชาสัมพันธ์ ลาสิกขาบท ขึ้นบ้านใหม่ ขอความรัก งานเพื่อความสงบเรียบร้อย และ สารพัดงานมงคลทั้งปวง

เพชฌฆาตฤกษ์ แปลว่า ผู้ทำหน้าที่ฆ่า มีพระราหูเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 แตกขาดกัน และ ตรงข้ามกับ โจโรฤกษ์ เรียกว่า "ตรินิเอก" คืออยู่ปลายราศี 3 ฤกษ์บาท และ ต้นราศี 1 ฤกษ์บาท ไม่ควรให้ฤกษ์ในการมงคลเลย เป็น ฉันทฤกษ์ (ฤกษ์แตกขาด)


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การฟันผ่าอันตรายและอุปสรรค ต่อสู้เสี่ยงภัยต่างๆ อาสางานใหญ่ ทำกิจปราบปรามศัตรู ตัดสินคดีความ งานที่ใช้การตัดสินใจอย่างเด็ดขาด ประกอบพิธีไสยศาสตร์ ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ลงเลขยันต์ สร้างวัตถุมงคลแบบคงกระพันชาตรี สร้างสิ่งสาธารณะกุศลสงเคราะห์ เปิดโรงพยาบาล การรักษาโรคเรื้อรังที่หายยากๆ การยาตราทัพ เจิมอาวุธยุทธภัณฑ์ สร้างโบสถ์วิหารการเปรียญ คล้ายกับโจโรฤกษ์ แต่ฤกษ์นี้จะแรงกว่า



โดยคุณ parinya_utra (118.172.76.*) [19 Feb 2011 14:36] #1553871 (99/110)

คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####


ข้อ 1.
ตอบ หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ รูปหนึ่งของเมืองนครราชสีมา ที่ครองเพศบรรพชิตอย่างสมถะ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา รักษาพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด

เป็นปูชนียบุคคลที่สาธุชนให้ความเลื่อมใสศรัทธามาอย่างยาวนาน

ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน

ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา

เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์
แม้วัยล่วงเลย 70 ปี แต่พระราชสีมาภรณ์ยังให้คำสั่งสอนอบรมศีลธรรมแก่ประชาชนที่มาทำบุญฟังธรรมที่วัดมหาวนาราม ทุกวันธัมมัสวนะ ก่อนทำวัตรสวดมนต์ และยังดำเนินการอบรมศีลธรรมแก่เยาวชนนักเรียนและประชาชน เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและทุกวันพระเป็นประจำ
พระเดชพระคุณเจ้าพระราชสีมาภรณ์ ท่านจึงเป็นพระที่มีแต่ให้ จึงนับเป็นมงคลอย่างยิ่งสำหรับผู้คนที่ได้สัมผัสใกล้ชิดและได้รับฟังคำสั่งสอนจากตัวท่าน


ข้อ 2. .ถือเอาวันที่มีฤกษ์ เพชฌฆาตฤกษ์ เป็นวันประกอบพิธีพุทธษภิเสกวัตถุมงคล

รายละเอียดฤกษ์

เพชฌฆาตฤกษ์ แปลว่า ผู้ทำหน้าที่ฆ่า มีพระราหูเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 แตกขาดกัน และ ตรงข้ามกับ โจโรฤกษ์ เรียกว่า "ตรินิเอก" คืออยู่ปลายราศี 3 ฤกษ์บาท และ ต้นราศี 1 ฤกษ์บาท ไม่ควรให้ฤกษ์ในการมงคลเลย เป็น ฉันทฤกษ์ (ฤกษ์แตกขาด)


เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การฟันผ่าอันตรายและอุปสรรค ต่อสู้เสี่ยงภัยต่างๆ อาสางานใหญ่ ทำกิจปราบปรามศัตรู ตัดสินคดีความ งานที่ใช้การตัดสินใจอย่างเด็ดขาด ประกอบพิธีไสยศาสตร์ ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ลงเลขยันต์ สร้างวัตถุมงคลแบบคงกระพันชาตรี สร้างสิ่งสาธารณะกุศลสงเคราะห์ เปิดโรงพยาบาล การรักษาโรคเรื้อรังที่หายยากๆ การยาตราทัพ เจิมอาวุธยุทธภัณฑ์ สร้างโบสถ์วิหารการเปรียญ คล้ายกับโจโรฤกษ์ แต่ฤกษ์นี้จะแรงกว่า

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 15:24 น.] #1553921 (10/17)
คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####


ข้อ 1.
ตอบ หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ รูปหนึ่งของเมืองนครราชสีมา ที่ครองเพศบรรพชิตอย่างสมถะ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา รักษาพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด

เป็นปูชนียบุคคลที่สาธุชนให้ความเลื่อมใสศรัทธามาอย่างยาวนาน

ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน

ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา

เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์
แม้วัยล่วงเลย 70 ปี แต่พระราชสีมาภรณ์ยังให้คำสั่งสอนอบรมศีลธรรมแก่ประชาชนที่มาทำบุญฟังธรรมที่วัดมหาวนาราม ทุกวันธัมมัสวนะ ก่อนทำวัตรสวดมนต์ และยังดำเนินการอบรมศีลธรรมแก่เยาวชนนักเรียนและประชาชน เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและทุกวันพระเป็นประจำ
พระเดชพระคุณเจ้าพระราชสีมาภรณ์ ท่านจึงเป็นพระที่มีแต่ให้ จึงนับเป็นมงคลอย่างยิ่งสำหรับผู้คนที่ได้สัมผัสใกล้ชิดและได้รับฟังคำสั่งสอนจากตัวท่าน

ข้อ2.

หลวงพ่อนวล หรือ พระเทพสีมาภรณ์
เจ้าอาวาส วัดบึง(พระอารามหลวง)

ปลุกเษกด้วยฤกษ์ มหัทธโนฤกษ์ โจโรฤกษ์
พุทธาพิเสก ณ วัดบึง จ.นครราชสีมา
มหัทธโน :แม้จะลำบากในตอนต้น ภายหลังจะเจริญรุ่งเรือง มักมีทรัพย์สินมาก ร่ำรวยมั่งคั่ง ทำมาค้าขายดีมาก
ฤกษ์มหัทธโน ..งานมงคลทุกอย่าง เช่น การโกนจุก แต่งงาน ปลูก สร้างอาคารสถานที่ ลาสิกขาบท
โจโร :มักจะหากินด้วยวิธีเสี่ยงอันตราย หรือฟันฝ่าความยากลำบาก ต้องฝ่าการต่อสู้หรือ ทำการที่ต้องใช้ความรวดเร็ว
ฤกษ์โจโร ..การจู่โจม ปล้นค่าย รบทัพจับศึก ทำอะไรที่ต้องการความรวดเร็วฉับพลัน การฉวยโอกาส การกระทำเพื่อข่มขวัญศัตรู หรือเพื่อให้มีตบะเดชะแบบ

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 15:28 น.] #1553926 (11/17)
คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####


ข้อ 1.
ตอบ หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง (พระราชสีมาภรณ์)
ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน

ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา

เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์


ข้อ2.

หลวงพ่อนวล หรือ พระเทพสีมาภรณ์
เจ้าอาวาส วัดบึง(พระอารามหลวง)

ปลุกเษกด้วยฤกษ์ มหัทธโนฤกษ์ โจโรฤกษ์
พุทธาพิเสก ณ วัดบึง จ.นครราชสีมา
มหัทธโน :แม้จะลำบากในตอนต้น ภายหลังจะเจริญรุ่งเรือง มักมีทรัพย์สินมาก ร่ำรวยมั่งคั่ง ทำมาค้าขายดีมาก
ฤกษ์มหัทธโน ..งานมงคลทุกอย่าง เช่น การโกนจุก แต่งงาน ปลูก สร้างอาคารสถานที่ ลาสิกขาบท
โจโร :มักจะหากินด้วยวิธีเสี่ยงอันตราย หรือฟันฝ่าความยากลำบาก ต้องฝ่าการต่อสู้หรือ ทำการที่ต้องใช้ความรวดเร็ว
ฤกษ์โจโร ..การจู่โจม ปล้นค่าย รบทัพจับศึก ทำอะไรที่ต้องการความรวดเร็วฉับพลัน การฉวยโอกาส การกระทำเพื่อข่มขวัญศัตรู หรือเพื่อให้มีตบะเดชะแบบ

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 15:50 น.] #1553954 (12/17)
พิธีพุทธาภิเษก หลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ ปั้มเข่ากว้ างรุ่นแรกวัดบึง ครั้งที่ 4 วันที่ 3 ก.พ.54 เวลา 09.09 น. พุท ธาภิเษกโดยหลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก และหลวงพ่อจอย ชินวํโส วัดโนนไทย ด้วยภูมิปาโลฤกษ์ เทศาตรีฤกษ์

ความหมายของภูมิปาโลฤกษ์ ภูมิปาโล :หากินทางราชการดี มักไม่ขาดผู้อุปถัมภ์ ผู้ใหญ่,เจ้านายมักเป็นที่พึ่ง ฤกษ์ภูมิปาโล ..การปลูกสร้างบ้าน สร้างตึกอาคาร สร้างเมือง รับตำแหน่งหน้าที่การงาน ทำการมงคลต่างๆ ยกศาล พระภูมิ งานมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี เทศาตรีฤกษ์ เทศาตรี :มักหาเลี้ยงชีพแบบจับจด ไม่แน่นอน หากินโดยการเดินทางไกลดีมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี ฤกษ์เทศาตรี ..กิจการสาธารณะ กิจการเกี่ยวการบันเทิงเริงรมณ์ สิ่งของหรือสถานที่ที่เดินทางไปหา สถานที่มีคนพลุกพล่าน เช่น โรงมหรสพ สถานีเดินรถ กิจการเดินเรือสาธารณะ เปิดบาร์ สโมสร เปิดร้านต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ โรงแรม เป็นต้น

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 16:24 น.] #1553981 (13/17)
คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####


ข้อ 1. ตอบ มี 3 ท่าน ที่ร่วมปลุกเสก ดังนี้

- หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง (พระราชสีมาภรณ์)
- หลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก
- หลวงพ่อจอย ชินวํโส วัดโนนไทย

......................................................................ประวัติ โดยคร่าว ๆ
- หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง (พระราชสีมาภรณ์)
ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน

ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา

เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์



...............................................................................ประวัติโดยคร่าว

- หลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก อ.เมือง จ.นครราชสีมา
เป็นแห่งธรรมที่หลวงพ่อคุณ ปริสุทโธ พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดบ้านไร่ เคยจัดสร้างวัตถุมงคลประเภทเหรียญรุ่นแรกจนโด่งดัง สนนราคาเล่นหาในหมู่นักสะสมสูงมาก
ปัจจุบันวัดแห่งนี้มี "พระครูรัตนญาณวิสุทธิ์" หรือ "หลวงปู่นิยม กมโล" ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้งนอก จ.นครราชสีมา

ในอดีต "หลวงปู่นิยม" เคยจำพรรษาอยู่ที่วัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งในปีนั้นหลวงปู่นาค (พระเทพสิทธินายก) ดำรงค์ตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งท่านเป็นชาวโคราชเหมือนกัน ท่านเล็งเห็นความขยันขันแข็งของหลวงปู่นิยม จึงได้มอบหมายหน้าที่การงานทางสงฆ์ให้ช่วยทำหลายเรื่อง และในช่วงนี้เองที่หลวงปู่นาคท่านได้ทดสอบและถ่ายทอดวิชาอาคมต่างๆ ให้กับหลวงปู่นิยม
เมื่อประมาณปี 2511-2513 ทางวัดแจ้งนอกได้ขาดเจ้าอาวาส ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์ให้หลวงปู่นิยมเดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ที่วัดแจ้งนอก ในช่วงปี 2513 เมื่อท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านก็ได้พัฒนาเสนาสนะต่างๆ ภายในวัดให้ดีขึ้นเป็นลำดับ


.........................................................................................ประวัติโดยคร่าว
- พระครูอนุวัตรชินวงศ์ (จอย ชินวํโส) อายุ 71 ปี พรรษา 48
น.ธ.เอก วัดโนนไทย ตำบลโนนไทย อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง เจ้าคณะอำเภอโนนไทย เจ้าอาวาสวัดโนนไทย
บรรพชา เมื่อวันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2505
ณ พัทธสีมา วัดสาริกา (บ้านวังกระอาม) ตำบลบ้านตาล อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ
พระอุปัชฌาย์ พระครูพิศิษย์ภัทรธรรม (หลวงพ่อแย้ม) เจ้าคณะตำบลบ้านเพชร วัดโคกสว่าง พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าอธิการโต ปสนฺนมโน เจ้าคณะตำบลบ้านตาล วัดสาริกา
พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์ชม วัดโคกสว่าง
อุปสมบทกิจเสร็จเป็นภิกษุอยู่จำพรรษาวัดสาริกา ปฏิบัติอันเตวาสิกาจารย์ แล้วมาจำพรรษาที่วัดหัวทะเล 1 พรรษา วัดบ้านไร่ 1 พรรษา และที่วัดโนนไทย 46 พรรษา รวม 48 พรรษา ได้เดินธุดงค์ ไปตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วทุกทิศ ทั้งพม่า ลาว กัมพูชา ได้สนทนาธรรมและปฎิบัติธรรมกับ พระสุปฎิปันโนมาแล้วมากหลาย
พ.ศ. 2510 เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พ.ศ. 2514 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองกก ตำบลค้างพลู อำเภอโนนไทย (ปัจจุบัน) ได้ย้ายไปขึ้นต่อการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2517 เป็นเลขานุการเจ้าคณะอำเภอโนนไทย
พ.ศ. 2521 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา เป็นเจ้าคณะตำบลบัลลังก์ ตำบลบัลลังก์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2522 เป็นอุปัชฌาย์ตำบลบัลลังก์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2526 เป็นเจ้าอาวาสวัดโนนไทย
พ.ศ. 2527 เป็นรองเจ้าคณะอำเภอโนนไทย
พ.ศ. 2552 เป็นเจ้าคณะอำเภอโนนไทย

วัดโนนไทย กิจกรรมที่ดำเนินการ การศึกษา
1. เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม มีนักศึกษาเข้าศึกษาในแผนกธรรมในระดับ นักธรรมตรี นักธรรมโท
และนักธรรมเอก ธรรมศึกษาตรี ธรรมศึกษาโท และธรรมศึกษาเอก และเปิดสอนในแผนกบาลีระดับเปรียญ
ธรรม 1-9
2. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากวัดโนนไทยได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง โดย
มีพระครูอนุวัตรชินวงศ์ (หลวงพ่อจอย) ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ ได้พัฒนาวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชาวอำเภอโนนไทยและชาวจังหวัดนครราชสีมา
การเผยแพร่
1. ทำการเผยแพร่พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพระพุทธเจ้า และจัดให้มีการสวดมนต์รักษาศีลเจริญภาวนาและการแสดงธรรมตลอดกาล
2. จัดงานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสฬหบูชา งานทอดกฐิน ผ้าป่า วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา ตลอดจนงานประเพณีที่สำคัญในแต่ละปี


ข้อ 2. ตอบ


มี พิธีพุทธาภิเษก หลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ ปั้มเข่ากว้ างรุ่นแรกวัดบึง ครั้งที่ 4 วันที่ 3 ก.พ.54 เวลา 09.09 น. พุท ธาภิเษกโดยหลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก และหลวงพ่อจอย ชินวํโส วัดโนนไทย ด้วยภูมิปาโลฤกษ์ เทศาตรีฤกษ์

ความหมายของภูมิปาโลฤกษ์ ภูมิปาโล :หากินทางราชการดี มักไม่ขาดผู้อุปถัมภ์ ผู้ใหญ่,เจ้านายมักเป็นที่พึ่ง ฤกษ์ภูมิปาโล ..การปลูกสร้างบ้าน สร้างตึกอาคาร สร้างเมือง รับตำแหน่งหน้าที่การงาน ทำการมงคลต่างๆ ยกศาล พระภูมิ งานมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี เทศาตรีฤกษ์ เทศาตรี :มักหาเลี้ยงชีพแบบจับจด ไม่แน่นอน หากินโดยการเดินทางไกลดีมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี ฤกษ์เทศาตรี ..กิจการสาธารณะ กิจการเกี่ยวการบันเทิงเริงรมณ์ สิ่งของหรือสถานที่ที่เดินทางไปหา สถานที่มีคนพลุกพล่าน เช่น โรงมหรสพ สถานีเดินรถ กิจการเดินเรือสาธารณะ เปิดบาร์ สโมสร เปิดร้านต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ โรงแรม เป็นต้น

ใช้เวลาประกอบพิธีพุทธาภิเษก 1ชั่วโมง 19นาที

โดยคุณ parinya_utra (1.1K)  [ส. 19 ก.พ. 2554 - 17:34 น.] #1554063 (14/17)
คำถาม

1. พระเกจิ รูปใดนั่งอธิฐานจิตรปลุกเสก พระหลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ เป็นเวลานานที่สุด
2. "รุ่นไพรีพินาศ" ได้กำหนดฤกษ์ในการปลุกเสกที่ฤกษ์ อะไรเป็นสำคัญ ของรุ่นไพรีพนาศ

ขอเชิญทุกท่านมาร่วมสนุกด้วยกันครับ
ปิดเวลาการร่วมสนุกกันเวลา 12:00 น.ครับ วันที่ 20 ก พ 54 ครับ
##### ตอบกี่ครั้งก็ได้ครับ แต่ขอรายละเอียดของ ของพระเกจิ ด้วยครับ ละลายละเอียดของฤกษ์ ด้วครับ #####

ข้อ 1. ตอบ มี 3 ท่าน ที่ร่วมปลุกเสก ดังนี้

- หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง (พระราชสีมาภรณ์)
- หลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก
- หลวงพ่อจอย ชินวํโส วัดโนนไทย

......................................................................ประวัติ โดยคร่าว ๆ
- หลวงพ่อนวล เจ้าอาวาสวัดบึง (พระราชสีมาภรณ์)
ปัจจุบัน พระราชสีมาภรณ์ หรือหลวงพ่อนวล เขมสัจจวาที สิริอายุ 70 ปี พรรษา 49 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
อัตโนประวัติ มีนามเดิมว่า นวล เขมสันเทียะ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2481 ณ หมู่ที่ 4 ต.สายออ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โยมบิดา-มารดาชื่อ นายแบบ และนางหมิ เขมสันเทียะ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน
ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนประชาบาลบ้านโคก ต.สายออ อ.โนน ไทย จ.นครราชสีมา
เมื่ออายุ 16 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2497 วัดโคกสวาย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์
ในระหว่างเป็นสามเณร สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ตามลำดับ ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา
กระทั่งเมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2502 ณ พัทธสีมาวัดบึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โดยมีพระมงคลสีหราชมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

ภายหลังอุปสมบท ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างมุ่งมั่น พ.ศ.2519 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ณ สำนักศาสนศึกษาวัดบึง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

ลำดับงานปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2519 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบึง พ.ศ.2524 เป็นเจ้าคณะตำบลโพธิ์กลาง อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ.2525 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ.2534 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2535 ได้รับพระ ราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระกิตติรามมุนี

พ.ศ.2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชสีมาภรณ์

ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึง พระราชสีมาภรณ์ได้พิจารณาเห็นว่า วัดบึงเป็นวัดเก่าแก่ เสนาสนะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ชำรุดทรุดโทรม

พระคุณท่านจึงดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ และทำการก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นใหม่หลายสิ่ง ทั้งในวัดและนอกวัด ดังปรากฏเป็นรูปธรรม จนวัดมีความเจริญงอกงาม สมบูรณ์ทั้งในด้านการปกครอง การศึกษาเผยแผ่ และสาธารณูปการ

พระราชสีมาภรณ์ เป็นพระธรรมกถึก วิทยากร ปาฐกถา บรรยายธรรม เป็นนักอนุ รักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพจิตรกรรม และอีกหลากหลาย

อีกทั้งสร้างคุณูปการมากมายให้แก่คณะสงฆ์และชาวเมืองโคราชนานัปการ

สำหรับคำสอนที่พระเดชพระคุณ พร่ำเน้นสั่งสอนญาติโยมทั่วไป คือ "ให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่ว ให้มีความอดทนอดกลั้น ให้มีความละอายต่อการกระทำชั่ว" ที่เน้นหนักเป็นพิเศษ คือ ให้มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์



...............................................................................ประวัติโดยคร่าว

- หลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก อ.เมือง จ.นครราชสีมา
เป็นแห่งธรรมที่หลวงพ่อคุณ ปริสุทโธ พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดบ้านไร่ เคยจัดสร้างวัตถุมงคลประเภทเหรียญรุ่นแรกจนโด่งดัง สนนราคาเล่นหาในหมู่นักสะสมสูงมาก
ปัจจุบันวัดแห่งนี้มี "พระครูรัตนญาณวิสุทธิ์" หรือ "หลวงปู่นิยม กมโล" ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้งนอก จ.นครราชสีมา

ในอดีต "หลวงปู่นิยม" เคยจำพรรษาอยู่ที่วัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งในปีนั้นหลวงปู่นาค (พระเทพสิทธินายก) ดำรงค์ตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งท่านเป็นชาวโคราชเหมือนกัน ท่านเล็งเห็นความขยันขันแข็งของหลวงปู่นิยม จึงได้มอบหมายหน้าที่การงานทางสงฆ์ให้ช่วยทำหลายเรื่อง และในช่วงนี้เองที่หลวงปู่นาคท่านได้ทดสอบและถ่ายทอดวิชาอาคมต่างๆ ให้กับหลวงปู่นิยม
เมื่อประมาณปี 2511-2513 ทางวัดแจ้งนอกได้ขาดเจ้าอาวาส ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์ให้หลวงปู่นิยมเดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ที่วัดแจ้งนอก ในช่วงปี 2513 เมื่อท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านก็ได้พัฒนาเสนาสนะต่างๆ ภายในวัดให้ดีขึ้นเป็นลำดับ


.........................................................................................ประวัติโดยคร่าว
- พระครูอนุวัตรชินวงศ์ (จอย ชินวํโส) อายุ 71 ปี พรรษา 48
น.ธ.เอก วัดโนนไทย ตำบลโนนไทย อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง เจ้าคณะอำเภอโนนไทย เจ้าอาวาสวัดโนนไทย
บรรพชา เมื่อวันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2505
ณ พัทธสีมา วัดสาริกา (บ้านวังกระอาม) ตำบลบ้านตาล อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ
พระอุปัชฌาย์ พระครูพิศิษย์ภัทรธรรม (หลวงพ่อแย้ม) เจ้าคณะตำบลบ้านเพชร วัดโคกสว่าง พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าอธิการโต ปสนฺนมโน เจ้าคณะตำบลบ้านตาล วัดสาริกา
พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์ชม วัดโคกสว่าง
อุปสมบทกิจเสร็จเป็นภิกษุอยู่จำพรรษาวัดสาริกา ปฏิบัติอันเตวาสิกาจารย์ แล้วมาจำพรรษาที่วัดหัวทะเล 1 พรรษา วัดบ้านไร่ 1 พรรษา และที่วัดโนนไทย 46 พรรษา รวม 48 พรรษา ได้เดินธุดงค์ ไปตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วทุกทิศ ทั้งพม่า ลาว กัมพูชา ได้สนทนาธรรมและปฎิบัติธรรมกับ พระสุปฎิปันโนมาแล้วมากหลาย
พ.ศ. 2510 เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พ.ศ. 2514 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองกก ตำบลค้างพลู อำเภอโนนไทย (ปัจจุบัน) ได้ย้ายไปขึ้นต่อการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2517 เป็นเลขานุการเจ้าคณะอำเภอโนนไทย
พ.ศ. 2521 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา เป็นเจ้าคณะตำบลบัลลังก์ ตำบลบัลลังก์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2522 เป็นอุปัชฌาย์ตำบลบัลลังก์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
พ.ศ. 2526 เป็นเจ้าอาวาสวัดโนนไทย
พ.ศ. 2527 เป็นรองเจ้าคณะอำเภอโนนไทย
พ.ศ. 2552 เป็นเจ้าคณะอำเภอโนนไทย

วัดโนนไทย กิจกรรมที่ดำเนินการ การศึกษา
1. เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม มีนักศึกษาเข้าศึกษาในแผนกธรรมในระดับ นักธรรมตรี นักธรรมโท
และนักธรรมเอก ธรรมศึกษาตรี ธรรมศึกษาโท และธรรมศึกษาเอก และเปิดสอนในแผนกบาลีระดับเปรียญ ธรรม 1-9
2. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากวัดโนนไทยได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง โดย
มีพระครูอนุวัตรชินวงศ์ (หลวงพ่อจอย) ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ ได้พัฒนาวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชาวอำเภอโนนไทยและชาวจังหวัดนครราชสีมา
การเผยแพร่
1. ทำการเผยแพร่พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพระพุทธเจ้า และจัดให้มีการสวดมนต์รักษาศีลเจริญภาวนาและการแสดงธรรมตลอดกาล
2. จัดงานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสฬหบูชา งานทอดกฐิน ผ้าป่า วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา ตลอดจนงานประเพณีที่สำคัญในแต่ละปี


ข้อ 2. ตอบ


มี พิธีพุทธาภิเษก หลวงพ่อคูณ รุ่นไพรีพินาศ ปั้มเข่ากว้ างรุ่นแรกวัดบึง ครั้งที่ 4 วันที่ 3 ก.พ.54 เวลา 09.09 น. พุท ธาภิเษกโดยหลวงปู่นิยม กมโล วัดแจ้งนอก และหลวงพ่อจอย ชินวํโส วัดโนนไทย ด้วยภูมิปาโลฤกษ์ เทศาตรีฤกษ์

ความหมายของภูมิปาโลฤกษ์ ภูมิปาโล :หากินทางราชการดี มักไม่ขาดผู้อุปถัมภ์ ผู้ใหญ่,เจ้านายมักเป็นที่พึ่ง ฤกษ์ภูมิปาโล ..การปลูกสร้างบ้าน สร้างตึกอาคาร สร้างเมือง รับตำแหน่งหน้าที่การงาน ทำการมงคลต่างๆ ยกศาล พระภูมิ งานมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี เทศาตรีฤกษ์ เทศาตรี :มักหาเลี้ยงชีพแบบจับจด ไม่แน่นอน หากินโดยการเดินทางไกลดีมงคลสมรสได้ หรือซื้อที่เช่าที่ดี ฤกษ์เทศาตรี ..กิจการสาธารณะ กิจการเกี่ยวการบันเทิงเริงรมณ์ สิ่งของหรือสถานที่ที่เดินทางไปหา สถานที่มีคนพลุกพล่าน เช่น โรงมหรสพ สถานีเดินรถ กิจการเดินเรือสาธารณะ เปิดบาร์ สโมสร เปิดร้านต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ โรงแรม เป็นต้น

ใช้เวลาประกอบพิธีพุทธาภิเษก 1ชั่วโมง 19นาที

โดยคุณ nop2524 (263)  [พฤ. 19 ม.ค. 2555 - 15:29 น.] #2042571 (15/17)
test

โดยคุณ nop2524 (263)  [พฤ. 19 ม.ค. 2555 - 15:30 น.] #2042572 (16/17)
555

โดยคุณ amber (4)  [พฤ. 19 ม.ค. 2555 - 15:30 น.] #2042573 (17/17)
444

!!!! กรุณา Login ก่อนจึงจะเสนอความคิดเห็นได้ !!!


Copyright ©G-PRA.COM