(N)
สุดยอด ตะกรุดกาสะท้อน ของดีล้านนา
พิธีปลุกเสกใหญ่ พระสถูปเมืองงาย เชียงใหม่
โดย หลวงพ่อรักษ์ และ พระเกจิอาจารย์สายล้านนา
........................
#กลับร้าย เปลี่ยนให้ กลายเป็นดี
#ป้องกันสิ่งชั่วร้าย คุณผี คุณคน กระทำย่ำยี
#ป้องกันสารพัดภัย ผู้ใดคิดร้าย สะท้อนกลับทันที
#กลับดวงชีวิต เปลี่ยนชะตา จน เป็น รวย
#ผู้ใดคิดร้าย เป็น มหาสะท้อน กลับคืนทันที
#พกพาติดตัว เป็นเมตตาในดวง
#พกพาไปทำงาน มีลูกค้า เงินทองไหลมาเทมา
....จัดเป็นเครื่องรางสายเหนือ ที่ได้รับความนิยมมานาน
เชื่อกันว่า มีอิทธิคุณช่วยป้องกันสิ่งชั่วร้าย และไม่ดีต่างๆ ให้สะท้อนกลับออกไป
ไม่สามารถส่งผลร้ายแก่ผู้ที่พกบูชาติดตัวได้
ทั้งนี้เรามักจะออกเสียง "ก่า" เป็น "กา" จนกลายเป็น "ตะกรุดกาสะท้อน"
....ยันต์ก่าสะท้อนเป็นยันต์ที่ได้รับความนิยมมากในหมู่ผู้นิยมยันต์ล้านนาทั้งหลาย
คำว่า ก่า เป็นภาษาล้านนา แปลว่า ป้องกัน, ไม่ให้เกิดขึ้น
....คุณวิเศษของยันต์กาสะท้อน. นั้นสามารถป้องกันอันตรายต่างๆ ทั้งปวง
ไม่ว่าจะเป็น มนต์ดำ คุณไสย คุณผี คุณคน ที่กระทำย่ำยีมาใส่เรานั้น
.....ตะกรุดนี้จะสะท้อนสิ่งเหล่านั้นกลับไปยังผู้ทำของทำคุณไสยใส่เราได้ตามกฎแห่งกรรม
....ยันต์กาสะท้อนนั้น ในอดีตมีครูบาอาจารย์ที่สร้างยันต์นี้จนเลื่องลือชื่อเสียงระบือไกล
มีหลวงปู่ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย จ.ลำพูน ครูบาสม วัดป่าแดด สารภี จ.เชียงใหม่ เป็นต้น
......การบริกรรมคาถาก่าสะท้อน ให้เริ่มด้วยการตั้งนะโม ๓ จบ แล้วตามด้วยคาถาที่ว่า
"พุทธัง อะระหัง กัณหะ ธัมมัง อะระหัง กัณหะ สังฆัง อะระหัง กันหะ สัมมาทางไหน สัมไปทางนั้น"
โดยมีอุปเท่ห์ว่า ผู้ใดบริกรรมคาถาบทนี้เป็นประจำป้องกันอันตรายได้ทุกอย่างแล
ใช้ภาวนาปัดคุณไสยที่ผู้ถูกกระทำ สำหรับผู้ที่รู้ตัวว่าถูกคุณไม่ว่าคุณผี คุณคน
ใช้ภาวนาปัดออก ได้ผลแน่นอนภาวนาเรื่อย ผูกข้อมือ หรือแขวนคอติดตัวไว้ป้องกันและสะท้อนกลับ
ส่วนพระคาถาก่อนนำตะกรุดติดตัว
นะโม ๓ จบ เช่นกัน แล้วตามด้วยคาถาที่ว่า
"อักขะระยันตังสันตังสันติ พุทธังอะระทะนานัง ธัมมังอะระทะนานัง
สังฆังอะระทะนานัง บิดา มารา อะระทะนานัง นะ ชา ลี ติฯ"
โดยมีอุปเท่ห์ว่า ผู้ใดบริกรรมคาถาบทนี้เป็นประจำ
พุทธคุณด้าน ป้องกัน คุ้มครอง อำนาจ บารมี เสริมดวง เสริมชะตา
เสริมตำแหน่งหน้าที่การงาน เสริมกิจการงานให้รุ่งเรือง มั่นคงตลอดกาล
คุ้มครองปกป้องรักษาบ้านเรือน ห้างร้าน และบริษัทดีนักแล
======================================= |